วันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 14 เวลา 08.30 - 12.20 น. 


หมายเหตุ : วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันหยุดวันสงกรานต์


บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 13 เวลา 08.30 - 12.20 น. 



หมายเหตุ วันนี้ดิฉันไม่ได้เข้าเรียน 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 12 เวลา 08.30 - 12.20 น. 


วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากมีกิจกรรมกีฬาสีของคณะศึกษาศาสตร์


บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 11 เวลา 08.30 - 12.20 น. 



 วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากสอบเก็บคะแนน 10 คะแนน ในรายวิชา
  การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย วัดความรู้ที่ได้เรียนมา



บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 10 เวลา 08.30 - 12.20 น.


เนื้อหาที่เรียน ...

       การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

  ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
  • เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
  • การกินอยู่
  • การเข้าห้องน้ำ การแต่งตัว 
  • กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน

  การสร้างความอิสระ
  • เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
  • อยากทำงานตามความสามารถ
  • เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่

  ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ                                           
  • การได้ทำด้วยตนเอง
  • เชื่อมั่นในตนเอง
  • เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี

  หัดให้เด็กทำเอง
  • ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
  • ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
  • ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ 
  • "หนูทำช้า" "หนูยังทำไม่ได้" 

  จะช่วยเมื่อไหร่
  • เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร , หงุดหงิด , เบื่อ , ไม่ค่อยสบาย
  • หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
  • เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
  • ช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม

  ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
  • แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
  • เรียงลำดับตามขั้นตอน

  การเข้าส้วม
  1. เข้าไปในห้องส้วม
  2. ดึงกางเกงลงมา
  3. ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
  4. ปัสสาวะหรืออุจจาระ
  5. ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
  6. ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
  7. กดชักโครกหรือตักน้ำราด
  8. ดึงกางเกงขึ้น
  9. ล้างมือ
  10. เช็ดมือ
  11. เดินออกจากห้องส้วม

  สรุป
  • ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
  • ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
  • ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
  • ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง
  • เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระ

      กิจกรรม ...

    กิจกรรมศิลปะบำบัด โดยอาจารย์แจกกระดาษ 100 ให้คนละ 1 แผ่น แล้วให้ระบายสีเป็นวงกลม
หลายๆวง เมื่อระบายเสร็จแล้วอาจารย์ก็อธิบายว่าการระบายสีของแต่ละคนบงบอกถึงนิสัยตนเอง
อย่างไร และสุดท้ายก็ให้นำผลงานของแต่ละคนไปติดเป็นต้นไม้ ดังรูป





       กิจกรรม ...

   ประเมินตนเอง : เข้าห้องเรียนสาย  ตั้งใจฟังอาจารย์สอน และตั้งใจทำกิจกรรม มีความสุข
 ในการเรียน

   ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจเรียน ร่วมกันตอบคำถาม ทำกิจกรรมอย่างเต็มที่กันทุกคน

   ประเมินอาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีกิจกรรมสนุกๆคลายเคลียดมาให้ทำเสมอ 
 สอนเข้าใจง่าย อาจารย์น่ารักที่สุดเลยค่ะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9


บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 9 เวลา 08.30 - 12.20 น.


ทักษะทางภาษา

  การวัดความสามารถทางภาษา
  • เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
  • ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
  • ถามหาสิ่งต่างๆไหม
  • บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
  • ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม

  การออกเสียงผิด / พูดไม่ชัด
  • การพูดตกหล่น
  • การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
  • ติดอ่าง

  การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
  • ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
  • ห้ามบอกเด็กว่า  "พูดช้าๆ" "ตามสบาย"  "คิดก่อนพูด"
  • อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
  • อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
  • ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
  • เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน

  ทักษะพื้นฐานทางภาษา
  • ทักษะการรับรู้ภาษา
  • การแสดงออกทางภาษา
  • การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด

  ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
  • การรับรู้ภาษามาก่อนการแสดงออกทางภาษา
  • ภาษาที่ไม่ใช่คำพูดมาก่อนภาษาพูด
  • ให้เวลาเด็กได้พูด
  • คอยให้เด็กตอบ (ชี้แนะหากจำเป็น)
  • เป็นผู้ฟังที่ดีและโตต้อบอย่างฉับไว (ครูไม่พูดมากเกินไป)
  • เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังเพียงอย่างเดียว
กิจกรรม
กิจกรรมดนตรีบำบัด โดยอาจารย์ให้แบ่งคู่ 2 คน แล้วแจกกระดาษค่ละ 1 แผ่น 
 สีเทียนคนละ 1 แท่ง แล้วอาจารย์ก็บอกว่าจะให้ลากเส้นเป็นเส้นตรงและก็เปิดเพลงให้ฟัง พอเพลงจบ  ก็ให้ระบายสีลงช่องที่เป็นช่องปิด ตามเส้นที่เราวาด


ประเมิน ...

   ประเมินตนเอง : เข้าห้องเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังอาจารย์สอน และตั้งใจทำกิจกรรม มีความสุข
 ในการเรียน

   ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจเรียน ร่วมกันตอบคำถาม ทำกิจกรรมอย่างเต็มที่กันทุกคน

   ประเมินอาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีกิจกรรมสนุกๆคลายเคลียดมาให้ทำเสมอ 
 สอนเข้าใจง่าย อาจารย์น่ารักที่สุดเลยค่ะ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8


บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 8 เวลา 08.30 - 12.20 น



หมายเหตุ : วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากหยุดนักขัตฤกษ์ "วันมาฆบูชา"


บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 7 เวลา 08.30 - 12.20 น. 


หมายเหตุ : วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากสอบกลางภาค 


บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


บันทึกอนุทิน 
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 6 เวลา 08.30 - 12.20 น. 


 เนื้อหาที่เรียน

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
 1. ทักษะทางสังคม 
  • เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคม ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการพ่อแม่
  • การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข
       กิจกรรมการเล่น
  • การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
  • เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็นสื่อ
  • ในช่วงแรกๆ เด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อน  แต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสำรวจ สัมผัส ผลัก ดึง
       ยุทธศาสตร์การสอน
  • ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ
  • จะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นแบบใดบ้าง
  • ครูจดบันทึก     ทำแผน IEP
          การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
    • วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง
    • คำนึงถึงเด็กทุกๆคน
    • ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
    • เด็กปกติทำหน้าที่เหมือน “ครู” ให้เด็กพิเศษ
           ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
    • อยู่ใกล้ๆ และเฝ้ามองอย่างสนใจ
    • ยิ้มและพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
    • ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม
          การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
    • ครูพูดชักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
    • ทำโดย “การพูดนำของครู”
           ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฎเกณฑ์
    • การให้โอกาสเด็ก
    • เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้อง


    กิจกรรมวันนี้

    อาจารย์ให้แบ่งคู่ 2 คน แล้วแจกกระดาษค่ละ 1 แผ่น สีเทียนคนละ 1 แท่ง แล้วอาจารย์ก็บอกว่าจะให้วาดรูปและจะเปิดเพลงให้ฟัง
    • โดยตั้งกติกาว่า คนนึงเป็นคนลากเส้น โดยมีข้อแม้ว่าต้องลากให้มีรูปวงกลม และคนนึง
     เป็นคนจุดเมื่อคู่ดิฉันวาดแล้วได้ดังรูป
    • เมื่อวาดเสร็จอาจารย์ให้ให้ภาพที่วาดว่าลายเส้นสามารถวาดเป็นรูปอะไรได้บ้าง 
     คู่ดิฉันวาดได้รูปงู ดังภาพ




    ประเมิน
    ประเมินตนเอง : วันนี้เข้าห้องสาย 8 นาที แต่อาจารย์ก็ใจดีปั๊มตัวปั๊มให้ ทำกิจกรรมสนุกมาก
     ตั้งใจเรียน แต่บางครั้งก็หันไปคุยกับเพื่อนข้างๆบ้าง
    ประเมินเพื่อน : เพื่อนทำกิจกรรมทายตอบคำถามอย่างสนุกสนาน หัวเราะเสียงดังอย่างมีความสุข
     ตั้งใจฟังอาจารย์สอน ช่วยกันตอบคำถาม Post test 
    ประเมินอาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีกิจกรรมสนุกๆคลายเคลียดมาให้ทำเสมอ 
     สอนเข้าใจง่าย อาจารย์น่ารักที่สุดเลยค่ะ

    บันทึกอนุทินครั้งที่ 5


    บันทึกอนุทิน 
    วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย 
    อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน
    วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
    ครั้งที่ 5 เวลา 08.30 - 12.20 น.



    เนื้อหาในวันนี้
    การสอนเด็กพิเศษ และ เด็กปกติ

            การเข้าใจภาวะปกติ
      - เด็กมักคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
      - ครูต้องเรียนรู้ , มีปฎิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษรู้จักเด็กแต่ละคนมองเด็กให้เป็น “เด็ก”

           การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า
      - การเข้าใจพัฒนาการของเด็ก จะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย

           ความพร้อมของเด็ก
      - วุฒิภาวะ
      - แรงจูงใจ
      - โอกาส                                                                                                                                         
           ทักษะของครู
     1.ต้องมองเด็กให้เป็นเด็ก
     2.เด็กเหมือนกันมากกว่าต่างกัน
     3.ต้องจำชื่อเด็กให้ได้ทุกคน
     4.บันทึกพฤติกรรมเด็กและมองเด็กให้ออก
     5.วุฒิภาวะเด็กแต่ละคนใกล้เคียงกัน
     6.เด็กแต่ละคนมีเเรงจูงใจที่ต่างกัน
     7.เด็กแต่ละคนเมื่อมาเรียนในห้องเรียนเราต้องมีโอกาสเท่าเทียมกัน
     8.ห้องเรียน เรียนรวมมีขีดจำกัดน้อยที่สุด
                               
           การสอนโดยบังเอิญ
     -  ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
     -  เด็กเข้าหาครูมากเท่าไหร่ ยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขึ้นเท่านั้น 
     -  ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
     -  ครูต้องมีความสนใจเด็ก
     -  ครูต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก
     -  ครูต้องมีอุปกรณ์และกิจกรรมล่อใจเด็ก
     -  ครูต้องมีความตั้งใจจริงในการช่วยให้เด็กแต่ละคนได้เรียนรู้
     -  ครูต้องใช้เวลาในการติดต่อไม่นาน

           อุปกรณ์
     - มีลักษณะง่ายๆ
     - ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
     - เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบเด็กปกติ
     - เด็กปกติเรียนรู้ที่จะให้ความช่วยเหลือเด็กพิเศษ

           ตารางประจำวัน
     - เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยู่เป็นประจำ
     - กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอนและทำนายได้
     - เด็กจะรู้สึกปลอดภัยและมั่นใจ
     - การสลับกิจกรรมที่อยู่เงียบๆกับกิจกรรมที่เคลื่อนไหวมากๆ
     - คำนึงถึงความพอเหมาะของเวลา

            ความยืดหยุ่น
     - การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
     - ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
     - ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็กแต่ละคน

           หลักการให้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย
     - ครูต้องให้แรงเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์
     - ครูต้องละเว้นความสนใจทันทีและทุกครั้งที่เด็กแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์
     - ครูควรให้ความสนใจเด็กนานเท่าที่เด็กมีพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์

    กิจกรรม 
    กิจกรรมที่ 1 อาจารย์แจกถุงมือคนละข้าง แล้วให้ใส่ถุงมือในข้างที่ไม่ถนัด จากนั้นก็ให้วาดรูป
     มือที่อยู่ในถุงมือ วาดให้เหมือนจริงที่สุด 
    กิจกรรมที่ 2 อาจารย์สอนให้ร้องเพลงเด็ก 5 เพลง ให้กลับไปฝึกร้องเป็นการบ้านในครั้งต่อไป 
     และให้ตอบคำถามท้ายคาบ

    ประเมิน
    ประเมินตนเอง : วันนี้มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน ตั้งใจตอบคำถาม และตั้งใจทำกิจกรรม
     ที่ได้รับมอบหมาย
    ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียน แต่บองคนก็คุยกันบ้าง ช่วยกันตอบคำถาม Post test ได้ดี
     เวลาทำกิจกรรมก็ทำกันอย่างตั้งใจ ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น
    ประเมินอาจารย์ : อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา สนุกสนุก เข้าใจง่าย แต่งกายเรียบร้อยน่ารัก 
     ตั้งใจสอน มีประสบการณ์มาเล่าให้ฟังมากมาย และมีเทคนิคต่างๆให้นักศึกษาไปปรับใช้